ตารางการออกแบบและพัฒนารูปแบบการเรียน
รูปแบบการสอน
|
ขั้นที่ 1
|
ขั้นที่ 2
|
ขั้นที่ 3
|
Constructionism
|
1. Explore การสำรวจตรวจค้น
คือขั้นตอนนี้บุคคลจะเริ่มสำรวจตรวจค้นหรือพยายามทำความเข้าใจกับสิ่งใหม่ (assimilation) ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อได้พบหรือ ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมใหม่ๆที่ไม่มีอยู่ในสมองของตน ก็จะพยายามรับหรือดูดซึมเก็บเข้าไปเป็นความรู้ใหม่ |
2. Experiment
การทดลอง คือขั้นตอนนี้จะเป็นการทดลองทำภายหลังจากที่มีการสำรวจไปแล้วเป็นการปรับความแตกต่างระหว่างของใหม่กับของเดิมจนเกิดความเข้าใจว่าควรจะทำอย่างไรกับสิ่งใหม่นี้ต่อไป |
3. Learning by doing การเรียนรู้จากการกระทำ
คือการลงมือปฏิบัติแล้วสร้างองค์ความรู้ใหม่เป็นองค์ความรู้ของตนเอง ขั้นตอนนี้จะเป็นการผสมผสานระหว่างการรับหรือดูดซึม
และการปรับความแตกต่าง
|
Biggs 3P Model
|
1. ครูนำ
เสนอบทเรียนในขั้นนำ เสนอ(P1 = Presentation)โดยนำ
เสนอเป็นรูปประโยคที่ใช้ในการสื่อสาร (Whole Language) ไม่แยกสอนเป็นคำ ๆ นักเรียนจะเข้าใจภาษานั้นโดยภาพรวม
หลีกเลี่ยงการแปลคำ ต่อคำ การนำ เสนอต้องชัดเจน
และตรวจสอบจนแน่ใจว่านักเรียนเข้าใจสิ่งที่ครูนำ เสนอนั้น
|
2. ครูใช้กิจกรรมในขั้นฝึก
(P2=Practice) อย่างหลากหลาย โดยยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ฝึกหัดและพูดในกลุ่มใหญ่ก่อน
ฝึกกลุ่มโดยใช้การฝึกลูกโซ่ ฝึกคู่เปลี่ยนกันถามตอบ
และก็ฝึกเดี่ยวโดยพูดกับครูทีละคน
|
3. กิจกรรมขั้นนำ
เสนอผลงานP3 (Production) เป็นขั้นที่นักเรียนจะนำ
ภาษาไปใช้ ครูอาจจะให้ทำ แบบฝึกหัด อ่านและเขียนร้องเพลงหรือเล่นเกม
ที่สืบเนื่องและเกี่ยวข้องกับภาษาที่เรียนมาในขั้นที่ 1 และ 2 อาจให้ทำ
งานเป็นการบ้านหรือสร้างสรรค์ผลงาน
|
Su learning Model
|
1. ผู้เรียนกำหนดกรอบวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของตนเอง
ด้วยการระบุ ความรู้และการปฏิบัติโดยระบุความรู้ ในรูปของสารสนเทศหรือdeclarative
knowledge และระบุทักษะ การปฏิบัติ(โครงงาน งานภาระงาน)
กลยุทธ์ ทักษะ หรือกระบวนการ หรือprocedural knowledge และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
|
2. ผู้เรียนออกแบบการเรียนรู้
และระบุเกณฑ์คุณภาพวัตถุประสงค์การเรียนรู้เป็นค่าระดับตามโครงสร้างการสังเกตผลการเรียนรู้
(structure of observed learning out-comes:SOLO Taxonomy)
|
กรณีที่วัตถุประสงค์เป็นความรู้ความเข้าใจ
จะระบุเป็นการเรียนรู้ร่วมกัน(collaborative
learning)หรือการเรียนรู้แบบนำตนเอง(self-directed
learning)โดยคำนึงถึงความมีประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ
ถ้าผู้เรียนต้องการการเรียนรู้แบบการมีความคิดวิจารณญาณ
จำเป็นจะต้องใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน(cooperative
learning) มีการอภิปรายเรื่องราวที่เรียนรู้
กลยุทธการเรียนรู้แบบท างานเป็นทีม
หรือกลยุทธการเรียนรู้เพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์
|
DRU Model
|
1. P= Planning การวางแผน
D = Design การออกแบบและการพัฒนา
C = Cognitive network ความรู้ความกระจ่างชัด
A = Affective network
การเรียนรู้จากเพื่อนร่วม วิชาชีพ
|
2. C= Cognitive network ความรู้ความกระจ่างชัด
L = Learning การเรียนรู้
M = Management การจัดการ,การควบคุม
S = Strategic network กลวิธี
|
3. A = Assessment การประเมินค่า
S = Strategic network กลวิธี
A = Affective network การเรียนรู้จากเพื่อนร่วมวิชาชีพ
E = Evaluation การประเมินผล
|
การทดลองใช้การวิจัยในชั้นเรียน
1. Pre
Test
- สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
- ตั้งปัญหาที่จะศึกษา
เด็กนักเรียนชั้น
ม.3
บกพร่องการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
2. สมมุติฐาน
ถ้านักเรียนในชั้นเรียนได้แสดงทัศนคติร่วมกันและได้ใช้เวลาอยู่ร่วมกันในการทำกิจกรรมต่างๆพอสมควร
ดังนั้นนักเรียนจะสามารถทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. เลือกใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ DRU Model (K, A, P)
ผลการเรียนรู้
|
คำแสดงกริยาเชิงพฤติกรรม
|
1.
ความรู้(K)
|
บอก
เล่า อธิบาย ระบุ ยกตัวอย่าง ฯลฯ
|
2.
กระบวนการ(P)
|
|
2.1
กระบวนการคิด
|
จำแนก
จัดกลุ่ม เปรียบเทียบ นำไปใช้ ประยุกต์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมิน ตัดสินใจ
แก้ปัญหา ฯลฯ
|
2.2
กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการสังคม
|
ทำงานเป็นกลุ่ม แสดงบทบาทหัวหน้า เลขา และ สมาชิกกลุ่ม มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกับผู้อื่น
|
2.3
การปฏิบัติ
|
ทดลอง
ทำกิจกรรม สร้าง ออกแบบ พัฒนา ใช้อุปกรณ์ ใช้เครื่องมือ ฯลฯ
|
2.4
กระบวนการสื่อสาร
|
ฟัง
พูด อ่าน เขียน ฯลฯ
|
3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์และเจตคติ (A)
|
ตระหนัก
ยอมรับ สนใจ ใฝ่รู้ รับผิดชอบ ซื่อสัตย์
|
4. Port
Test
- สรุปผลการตั้งสมมติฐาน
ระยะเวลา 2 อาทิตย์
นักเรียนชั้น ม.2 มีพฤติกรรมที่มีแนวโน้มไปในทางที่ดีขึ้น
หลังจากผ่านกระบวนการที่ได้นำมาใช้ นักเรียนสามารถทำงานร่วมกัน
อภิปรายและประสานงานกันได้ดีอย่างมีประสิทธิภาพ
ทำให้บรรยากาศในการเรียนภายในห้องเรียนเป็นไปอย่างสนุก ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมมากยิ่งขึ้นจากการกล้าแสดงออกทางความคิด
การเปรียบเทียบการสอนรูปแบบเก่ากับรูปแบบใหม่
การสอนรูปแบบเก่า
|
การสอนรูปแบบใหม่ (DRU)
|
ขั้นนำ
ครูให้นักเรียนทบทวนความรู้เดิม
ยกตัวอย่างสิ่งที่อยู่รอบๆตัว
ครูใช้คำถามเพื่อให้นักเรียนตอบ
ครูมีกิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน
เช่น ร้องเพลง เต้น หรือใช้เกม
|
Planning การวางแผน
นักเรียนออกแบบการจัดการเรียนรู้
นักเรียนค้นคว้า
เรียนรู้จาก PPT,E-Book,ใบความรู้
นักเรียนคุยกับเพื่อน
กับผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญ
|
ขั้นสอน
ครูให้นักเรียนทำการทดลอง
ครูสอนแบบบรรยาย
โดยใช้หนังสือหรือ ใช้ Power Point
(PPT)
ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดลงสมุด
หนังสือ
|
Cognitive network
ความรู้ความกระจ่างชัด
นักเรียนเลือกได้ว่าจะเรียนรู้จาก PPT,E-Book หรือใบความรู้
นักเรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข
นักเรียนกำหนดกลวิธีในการเรียนรู้
|
ขั้นสรุป
ครูให้นักเรียนทำใบงาน
ครูให้นักเรียนนำเสนอผลงาน
ครูให้นักเรียนสรุปโดยทำแผนผังความคิด
|
Assessment การประเมินค่า
นักเรียนมีกลวิธีในการเรียนรู้
การแบ่งงาน ทำงานตามความสามารถ
นักเรียนประเมินตรวจสอบ
หรือทบทวนตัวเอง
นักเรียนคุยกับเพื่อน
ผู้รู้ และผู้เชี่ยวชาญ
|
นางสาววีณา
มั่นน้อย รหัสนักศึกษา 5641060148
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป กลุ่ม 12 รุ่น 56 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี